- Slideshow (สไลด์โชว์)
- Google Map (กูเกิ้ลแม็พ)
- Google Sheet (กูเกิ้ลชีท)
- Google Slide (กูเกิ้ลสไลด์)
- Photo Gallery (อัลบั้มรูป)
- YouTube (คลิปวิดีโอจากยูทูป)
- Photo Collage (ใช้สำหรับรวมภาพ)
- Animated Banner (ป้ายโฆษณาเคลื่อนไหว)
- PDF File (แสดงไฟล์ PDF จาก Google Drive)
- Presentation (ใช้นำเสนอข้อมูลแบบ Animation)
- PIE CHART (กราฟวงกลม 2 มิติ, 3 มิติ และ โดนัท)
- Slideshare (แสดง Slide จากบริการ Slideshare)
- Share Buttons (ใช้แชร์ข้อมูลไป Social Network)
- Button (ปุ่ม)
- Price List (ลิสต์รายการ + ราคา)
- Number List (ลิสต์รายการ + ตัวเลข)
- Q&A List (ลิสต์แสดง คำถาม + คำตอบ)
- Key/Value Table (ตารางแสดงคุณสมบัติ)
- Description Table (ตารางแสดงรายละเอียด)
- Graphic Header (แสดงหัวข้อแบบ GRAPHIC)
- Graphic Divider (เส้นแบ่งข้อมูลแบบ GRAPHIC)
- Product SKU (เครื่องมือแสดง SKU+ราคา สินค้า)
- Banners 2X (ป้ายโฆษณา แถวละ 2 ป้าย)
- Banners 3X (ป้ายโฆษณา แถวละ 3 ป้าย)
- Banners 4X (ป้ายโฆษณา แถวละ 4 ป้าย)
-
ร้านป้าย, ร้านป้ายใกล้ฉัน, ค่าสี, งานพิมพ์, พิมพ์ไวนิล
-
มีหลายคนคงจะรู้จัก กับค่าโหมดสี CMYK (สีฟ้า สีม่วงแดงเข้ม สีเหลือง สีดำ) และค่าโหมดสี RGB (สีแดง สีเขียว สีน้ำเงิน) เชื่อว่าหลายคนคงรู้จักกันอยู่แล้ว
RGB เป็นสีที่ใช้ในการแสดงบนรูปภาพและบนหน้าจอแสดงสี อาทิ ทีวี โทรศัพท์
CMYK ได้ถูกนำไปใช้ในด้านงานพิมพ์
ในการส่งค่าสีไฟล์อาร์ตเวิร์กในงานพิมพ์ จึงใช้ CMYK หากส่ง เป็นค่าสี RGB จะทำให้สีผิดเพี้ยนมาก -
1
รูปภาพดิจิตอล และ RGB - RGB คืออะไร และ เราควรใช้เมื่อไหร่
RGB ย่อมากจากสีพื้นฐานที่ได้แก่ สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ด้วยการผสมสีทั้งสามในสัดส่วนต่างๆ คุณจะสามารถได้เฉดสีทั้งหมดประมาณ 16.8 ล้าน เฉด เพราะว่าสีเหล่านี้คือสีพื้นฐานกายภาพ ทุกรูปในอุปกรณ์ดิจิตอลใช้สีเหล่านี้เป็นปกติธรรมดา เช่นรูปถ่ายจากกล้องดิจิตอลหรือโทรศัพท์มือถือ คุณสมบัติที่โดดเด่นของช่วงสี RGB คือ สีที่เห็นจากการผสมของสีต่างๆของแสง ส่งผลให้ RGB คือโมเดลผสมสีแบบเพิ่ม: ยิ่งใช้สีมากเท่าไร รูปภาพสุดท้ายก็ยิ่งสว่างมากขึ้น (เมื่อทั้งสามสีพื้นฐานถูกตั้งค่าให้เป็น 100% สีที่เห็นจะเป็นสีขาว) * เมื่อคุณยิ่งใช้สีโทนนี้มากเท่าไหร่ → คุณก็จะได้รูปที่มีสีสว่างมากขึ้นเท่านั้น - ด้วยเหตุผลนี้ เมื่อคุณตั้งค่าสีไว้ที่ 100% สีที่คุณจะได้จะเป็น สีขาว
2CMYK และ การพิมพ์ - CMYK คืออไร และ ใช้เมื่อไหร่
ในทางตรงกันข้ามกับสีผสมแบบบวก RGB เราขอนำเสนอสี CMYK ที่เป็นสีผสมแบบลบอาทิเช่น สีฟ้า สีม่วงแดง และสีเหลือง และสีหลักอย่าง สีดำ เป็นสีที่โดดเด่นอย่างมากเมื่อเราใช้บนพื้นหลังสีขาว *เมื่อคุณใช้สีผสมลบนี้มากเท่าไหร่ คุณก็จะได้รูปที่เข้มมากขึ้น ดังนี้ - เมื่อคุณตั้งค่า สีฟ้า สีม่วงเข้ม และ สีเหลืองไว้ที่ 100% สีที่คุณจะได้ก็จะเข้มขึ้น - นี่คือเหตุผลที่ว่าทำไม สีดำ ถึงเป็นสีหลักเพราะสีที่ได้ที่ออกมาจะเป็นสีดำมากกว่าสีโทนน้ำตาลเข้ม สี CMYK จะถูกใช้บนกระดาษเมื่อสีถูกจัดอยู่ในสัดส่วนที่เราจำเป็นเท่านั้น นั่นหมายความว่า ในทางทฤษฎี นี้เราสามารสร้างสีได้ขึ้นมากกว่า 4 พันล้านสีสำหรับโหมด สี CMYK (แต่เนื่องด้วยเทคโนโลยีปัจจุบันที่เราสามารถเห็นสีเหล่านั้นเป็นเพียงส่วนเล็กๆ บนจอภาพ หรือ เครื่องพิมพ์เท่านั้น
3วิธีตั้งค่าขอบเขตสีสำหรับไฟล์งานพิมพ์ให้ถูกต้อง - อะไรที่เราควรรู้ และ เราต้องตั้งค่างานอาร์ตเวิร์คอย่างไรให้เหมาะสม ?
ถ้าหากรูปแบบไฟล์งานที่คุณใช้ไม่ถูกต้องอาจจะทำให้การเตรียมไฟล์งานของคุณกลายเป็นปัญหาใหญ่ได้! รูปภาพ และ โลโก้ ในรูปแบบ RGB สามารถหาได้เยอะมากบนอินเทอร์เน็ต แต่การเลือกรูปแบบ RGB มาใช้ในงานพิมพ์ของคุณก็อาจจะทำให้สีของคุณคลาดเคลื่อนได้เมื่อพิมพ์ออกมา เพื่อหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดเช่นนั้นเราควรเปลี่ยนไฟล์สี RGB เป็น CMYK ก่อนพิมพ์งานออกมา - อย่างไรก็ตาม การปรับเปลี่ยนสี RGB เป็น CMYK อาจไม่ได้รับการยืนยันเสมอไป เพราะฉะนั้นการตั้งค่า CMYK ตั้งแต่คุณเริ่มทำไฟล์งานอาร์ตเวิร์คของคุณจึงเป็นการตั้งค่าที่ง่ายที่สุด
- Slideshow (สไลด์โชว์)
- Google Map (กูเกิ้ลแม็พ)
- Google Sheet (กูเกิ้ลชีท)
- Google Slide (กูเกิ้ลสไลด์)
- Photo Gallery (อัลบั้มรูป)
- YouTube (คลิปวิดีโอจากยูทูป)
- Photo Collage (ใช้สำหรับรวมภาพ)
- Animated Banner (ป้ายโฆษณาเคลื่อนไหว)
- PDF File (แสดงไฟล์ PDF จาก Google Drive)
- Presentation (ใช้นำเสนอข้อมูลแบบ Animation)
- PIE CHART (กราฟวงกลม 2 มิติ, 3 มิติ และ โดนัท)
- Slideshare (แสดง Slide จากบริการ Slideshare)
- Share Buttons (ใช้แชร์ข้อมูลไป Social Network)
- Button (ปุ่ม)
- Contact (ข้อมูลในการติดต่อ)
- Price List (ลิสต์รายการ + ราคา)
- Number List (ลิสต์รายการ + ตัวเลข)
- Q&A List (ลิสต์แสดง คำถาม + คำตอบ)
- Key/Value Table (ตารางแสดงคุณสมบัติ)
- Description Table (ตารางแสดงรายละเอียด)
- Graphic Header (แสดงหัวข้อแบบ GRAPHIC)
- Graphic Divider (เส้นแบ่งข้อมูลแบบ GRAPHIC)
- Product SKU (เครื่องมือแสดง SKU+ราคา สินค้า)
- Banners 2X (ป้ายโฆษณา แถวละ 2 ป้าย)
- Banners 3X (ป้ายโฆษณา แถวละ 3 ป้าย)
- Banners 4X (ป้ายโฆษณา แถวละ 4 ป้าย)